Connect to DB
  หัวข้อ คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม (สำรวจครั้งที่ 2)
  วัตถุประสงค์ในการสำรวจ:
   

         เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้น
ในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550 ในประเด็นต่อไปนี้
                       1. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้
                       2. พรรคการเมืองที่จะเลือกจาก สส. ระบบสัดส่วน
                       3. การรับรู้ในนโยบายของพรรคการเมืองที่ตัดสินใจจะเลือก
                       4. คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
                       5. หัวหน้าพรรคที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
                       6. ความเห็นหากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปเป็นคนนอกที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมือง
                           ที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง
                       7. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม
                       8. ความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งใหม่จะทำให้สถานการณ์บ้านเมืองของไทยดีขึ้น

  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” (สำรวจครั้งที่ 2) ได้ดำเนินการเก็บ
ข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 4-10 ธันวาคม จากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
โดยสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบสัดส่วนทั้ง 8 กลุ่ม กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 16
จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี เชียงใหม่ แพร่ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี
ร้อยเอ็ด นครราชสีมา จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม นครศรีธรรมราช และสตูล จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบแบ่งชั้นภูมิ   เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น
1,472 คน   เป็นเพศชายร้อยละ 49.3 และเพศหญิงร้อยละ 50.7    โดยเป็นผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล
ร้อยละ 39.9  และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 60.1

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 4 - 10  ธันวาคม 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 13  ธันวาคม 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส.
ในการเลือกตั้งครั้งนี้
   

   
                          กราฟที่ 2: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อสอบถามว่า ขณะนี้มีผู้สมัคร ส.ส. ที่จะเลือก
อยู่ในใจแล้วหรือยัง  พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 3: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อสอบถามถึงลักษณะการเลือก ส.ส.
แบบรวมเขตเรียงเบอร์ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 4: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อพรรคการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเลือก
ในระบบสัดส่วน  คือ
   

   
                          กราฟที่ 5: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการรับทราบในนโยบายของพรรคการเมือง
ที่ตั้งใจจะเลือก พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 6: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ที่จะมาเป็น
นายกรัฐมนตรีคนต่อไป คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
   

   
                          กราฟที่ 7: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อหัวหน้าพรรคการเมืองที่คิดว่ามีความเหมาะสม
ที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด  คือ
   

   
                          กราฟที่ 8: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อสอบถามความเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดว่า
หากนายกรัฐมนตรีคนต่อไปจะมาจากคนนอก ที่ไม่ใช่หัวหน้าพรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง  พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 9: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)
ว่าจะสามารถควบคุมดูแลการเลือกตั้ง ให้เป็นไปอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม นั้น  พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 10: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อสอบถามว่า ภายหลังการเลือกตั้งสถานการณ์
การเมืองของไทยจะเป็นอย่างไร ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง เห็นว่า
   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม (สำรวจครั้งที่ 2) )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776